ดร. ธีรารัตน์ อิทธิโสภณกุล

ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ASST.PROF.Dr.TEERARAT ITTHISOPONKUL
สังกัด
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ
วุฒิ
ป.เอก : Ph.D. (Food Science)
ป.โท : วท.ม. (เทคโนโลยีชีวเคมี)
ป.ตรี : วท.บ. (วิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ)
ความเชี่ยวชาญ
starch technology, encapsulation,
functional foods,
waste utilization
ประสบการณ์ในการทำวิจัย
การพัฒนาผลิตภัณฑ์โปรตีนทางเลือกในรูปแบบผลิตภัณฑ์อาหารทะเล (ร่วมกับ บริษัท ทีทีที โฮลดิ้ง จำกัด, 2563
การพัฒนาผลิตภัณฑ์คาราเมลรสเกลือจากเนื้อมะพร้าวอ่อน (ร่วมกับ บริษัท เซ็ปเป้ จำกัด (มหาชน),2563
การใช้ google classroom ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้รายวิชาเคมีขององค์ประกอบอาหาร
สำหรับนิสิตสาขาวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ คณะเทคโนโลยีและนวัตกรรมผลิตภัณฑ์การเกษตร
มศว,2563
การพัฒนาผลิตภัณฑ์กัมมี่ปราศจากน้ำตาลเสริมโพรไบโอติกสำหรับกลุ่มวีแกน,2562
การพัฒนาผลิตภัณฑ์รังนกแห้งพร้อมซุปผงและการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (ร่วมกับสถาบันวิจัยและเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย),2561
การเพิ่มมูลค่าปลายข้าวหักพันธุ์ไรซ์เบอรี่โดยผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ปลอดกลูเตน,2560
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมไทยพลังงานต่ำแช่แข็งเพื่อเพิมศักยภาพการส่งออก,2560
การใช้เทคโนโลยีที่ยั่งยืนในการแปรรูปกล้วยอบสุญญากาศที่ตกเกรดเป็นไซรัป,2560
การสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลไม้ไทยโดยการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ขึ้นรูปใหม่คล้ายของสดด้วยการเตรียมขั้นต้น
วิธีออสโมซิสในสภาวะสุญญากาศ,2560
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ลูกตาลอ่อนกึ่งแห้งให้เป็นอาหารเพื่อสุขภาพ,2559
การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับปลานิลจังหวัดนครนายก: การพัฒนาขนมขบเคี้ยวชนิดอบเพื่อสุขภาพ,2559
การพัฒนากระบวนการผลิตไซรัปแคนตาลูปที่มีสารต้านอนุมูลอิสระสูง,2559
การใช้ประโยชน์จากเปลือกเงาะเป็นใยอาหารในอาหารเพื่อสุขภาพ,2558
การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพจากแก้วมังกร,2558
การพัฒนาผลิตภัณฑ์เนยแข็งชนิดเทียมจากข้าว,2558
การพัฒนาผลิตภัณฑ์พาสต้าปราศจากกลูเตนหุงต้มเร็วจากแป้งข้าวกล้องเสริมคุณค่าโปรตีน,2558
การผลิตไซรัปจากข้าวสายพันธุ์ที่มีสารต้านอนุมูลอิสระสูง,2557
การพัฒนาผลิตภัณฑ์เห็ดผงปรุงรสปราศจากผงชูรส,2557
การใช้ประโยชน์จากซังข้าวโพดม่วงซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรมาผลิตเป็นสารผสมอาหารเพื่อสุขภาพ,2557
การศึกษาความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการผลิตไขอ้อยเพื่อใช้เป็นวัสดุนำส่งสารสำคัญ,2557
การพัฒนาและประเมินความคงตัวของนาโนอิมัลชันของแอสตาแซนธินเพื่อใช้เป็นอาหารเสริม,2557
การเตรียมอนุภาคนาโนของแอนโธไซยานินเพื่อใช้เป็นสารอาหารเพื่อสุขภาพ,2555
การใช้ไอโซมอลทูโลสในผลิตภัณฑ์คุกกี้,2552
ประสบการณ์ทำวิจัยภายนอก
บริษัทน้ำมันบริโภคไทย จำกัด, บริษัทน้ำตาลราชบุรี จำกัด, บริษัทเชียงใหม่ ไบโอเวกกี้ จำกัด, สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช), มหาวิทยาลัยบูรพา, บริษัท เซ็ปเป้ จำกัด (มหาชน), บริษัท ทีทีที โฮลดิ้ง จำกัด
ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่
JOURNALS
Suppasin T, Narathip P, Boonyarat L, Teerarat I, Kittiwut K, Malai T. Microencapsulation of probiotic Lactobacillus brevis ST-69 producing GABA using alginate supplemented with nanocrystalline starch. Food Science and Biotechnology. (in press)
Charoenthaikij P, Prommin A, Suratananun A, Itthisoponkul T, Naknan P. Physicochemical properties and sensory quality of gluten-free brown rice pasta enriched with egg white protein. The Journal of KMUTNB 2018; 28(3): 627-38.
Itthisoponkul T, Naknan P, Prompun S, Kasemwong K. Evaluation. Evaluation of high pressure treatment for improvement of physicochemical and functional qualities in purple corncobs. 2018; IFRJ. 25(1) 246-253.
Naknan P, Itthisoponkul T, Sondee A, Angsombat N. Utilization of Watermelon Rind Waste as a Potential Source of Dietary Fiber to Improve Health Promoting Properties and Reduce Glycemic Index for Cookie Making. Food Sci. Biotechnol. 2016; 25(2): 415-424.
Naknan P, Itthisoponkul T, Charoenthaikij P. Proximate compositions, nonvolatile taste components and antioxidant capacities of some dried edible mushrooms collected from Thailand. Journal of Food Measurement and Characterization. 2015; 9: 259-268.
Naknan P, Itthisoponkul T. Characteristics of cantaloupe jams as affected by substitution of sucrose with xylitol. International Journal of Fruit Science. 2015; 15: 442-455.
Yuenyongputtakal, W. and Itthisoponkul, T. Production of germinated red jasmine brown rice and its physicochemical properties. International Food Research Journal. 2012; 19(2):409-416.
Kasemwong, K., Meejaiyen K, Srisiri S. and Itthisoponkul T. Effect of high-pressure microfluidization on the structure and properties of waxy rice starch. Thai Journal of Agricultural Science. 2011; 44(5): 408-414
Kasemwong K., Ruktanonchai U., Srinuanchai W., Itthisoponkul T. and Sriroth K. Effect of high-pressure microfluidization on the structure of cassava starch granule. Starch/Starke. 2011; 63(3): 160-170.

ธีรารัตน์ อิทธิโสภณกุล. การเตรียมและการประยุกต์ใช้สารประกอบเชิงซ้อนแบบอินคลูชันของอะมิโลสในระบบนำส่งสารสำคัญทางอาหาร. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา 2555; 17(1): 157-164.
ธีรารัตน์ อิทธิโสภณกุล และฎายิน ทัศนเสถียร. ผลของชนิดน้ำมันพืชต่อการดูดซับน้ำมันในอาหารทอด. วารสารวิทยาศาสตร์การเกษตร 2554; 42(2)(พิเศษ); 453-456.
ธีรารัตน์ อิทธิโสภณกุล กฤษณา หงส์คู และพิณริยา มุขกระโทก. ผลของการใช้ไอโซมอลทูโลสทดแทนน้ำตาลต่อคุณภาพเค้กเนย. วารสารวิทยาศาสตร์การเกษตร 2554; 42(2)(พิเศษ); 449-452.
Chai S., Natthawut, P., Wichamanee, Y. and Teerarat I., Potential use of dragon fruit peel powder as a source of antioxidant dietary fibre in bread. Proceedings of the 4th ISEKI Food Conference; 2016 July 6-8; Vienna, Austria.
Itthisoponkul, T. and Prompun, S. Effect of ultrasonic treatment on properties and antioxidant capacity of purple corn cob. The 3rd International Symposium on Fundamental and Applied Sciences, 22-24 March 2015, Osaka, Japan. (Proceeding)
Itthisoponkul, T. and Chaovanalikit, A. Stability of mangosteen anthocyanins microencapsulated with lipid and its antioxidant activity. Food innovation Asia Conference 2012, 14-15 June 2012, BITECH, Bangkok, Thailand. (Proceeding)
Kasemwong, K., Itthisoponkul, T., Ruktanonchai, U.R., Srinuanchai, W., Mitchell, J.R. and Taylor, A.J. Books of Abstracts, 214th ACS National Meeting, Anaheim, CA, March 27-31, 2011; American Chemical Society; Washington, DC, 2011; AGFD-28.
Kasemwong K. and Itthisoponkul T. Encapsulation of flavor compounds as helical inclusion complexes of starch, ACS Symposium Series, vol.1143, pp 235-245; 2013.

CONTACT

คณะเทคโนโลยีและนวัตกรรมผลิตภัณฑ์การเกษตร
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Faculty of Agricultural Product Innovation and Technology

63 หมู่ 7 ชั้น 5 อาคารอำนวยการ ตำบลองครักษ์ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก 26120

โทร 02 649 5000 ต่อ 27167

E-mail  aiswu@g.swu.ac.th

พิกัด GPS : 14.105399, 100.982440

LINK

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหารแห่งประเทศไทย (FoSTAT) สมาคมเทคโนโลยีชีวภาพแห่งประเทศไทย สมาคมโพลิเมอร์แห่งประเทศไทย

ส่วนส่งเสริมและบริการการศึกษา