ดร. อรุษา เชาวนลิขิต

ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ASST.PROF.Dr.ARUSA CHAOVANALIKIT
สังกัด
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร
วุฒิ
ปริญญาเอก : Ph.D.(FOOD SCIENCE AND TECHNOLOGY)
ปริญญาโท : M.S.(FOOD SCIENCE AND HUMAN NUTRITION)
ปริญญาตรี : วท.บ. (วิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ)





ความเชี่ยวชาญ
- HPLC ANALYSIS OF COLORANT
AND PHYTOCHEMICALS
- EFFECT OF PROCESSING ON
COLORANT AND PHYTOCHEMICALS
ประสบการณ์ในการทำวิจัย
โครงการสีธรรมชาติจากเปลือกมังคุด,2553
โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากมังคุดเพื่อใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์,2551
โครงการการวิจัยและพัฒนาสารสกัดมาตรฐานระดับ Pilot Scale และศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของเปลือกมังคุด (ร่วมกับ
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก),2551
โครงการการศึกษาสารโพลีฟีนอลิกในมังคุดระยะต่าง ๆ เพื่อเปรียบเทียบกับผลไม้ชนิดอื่น ๆ สกัดเพกตินจากเปลือกมังคุด
เพื่ออุตสาหกรรมอาหาร (ร่วมกับกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก),2551
โครงการการสกัดแยกและหาสูตรโครงสร้างสารจากว่านชักมดลูกเพื่อการประเมินฤทธิ์ทางชีวภาพและการวิเคราะห์สารสกัดว่านชักมดลูก,2550
โครงการการสกัดเพกตินจากเปลือกมังคุดเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร,2550
โครงการการศึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากมังคุดและผลกระทบจากการแปรรูปต่อสารสำคัญของมังคุด,2550
โครงการศึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากมังคุดและผลกระทบจากการแปรรูปต่อสารสำคัญของมังคุด ทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานคณะกรรมการวิจัย
แห่งชาติ ประจำปี 2549
ประสบการณ์ทำวิจัยภายนอก
โครงการสีธรรมชาติจากเปลือกมังคุด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2553 90,000 บาท
โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากมังคุดเพื่อใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 2551 320,500 บาท
โครงการการวิจัยและพัฒนาสารสกัดมาตรฐานระดับ Pilot Scale และศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของเปลือกมังคุด กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 2551 2,600,000 บาท
โครงการการศึกษาสารโพลีฟีนอลิกในมังคุดระยะต่าง ๆ เพื่อเปรียบเทียบกับผลไม้ชนิดอื่น ๆ สกัดเพกตินจากเปลือกมังคุดเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจำปี 2551 2551 400,000 บาท
โครงการการสกัดแยกและหาสูตรโครงสร้างสารจากว่านชักมดลูกเพื่อการประเมินฤทธิ์ทางชีวภาพและการวิเคราะห์สารสกัดว่านชักมดลูก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2550 500,000 บาท
โครงการการสกัดเพกตินจากเปลือกมังคุดเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2550 401,000 บาท
โครงการการศึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากมังคุดและผลกระทบจากการแปรรูปต่อสารสำคัญของมังคุด สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2550 420,000 บาท
โครงการศึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากมังคุดและผลกระทบจากการแปรรูปต่อสารสำคัญของมังคุด ทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 2549 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2549 (งบประมาณสนับสนุน จำนวน 358,220 บาท)
ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่
JOURNALS
อรุษา เชาวนลิขิต และ อรัญญา มิ่งเมือง. 2550. ปริมาณแอนโธไซยานินและปริมาณฟีนอลิกทั้งหมดของมังคุดและน้ำมังคุด. วารสารวิทยาศาตร์ มศว. ปีที่ 23 ฉบับที่ 1. หน้าที่ 68-78.
อรุษา เชาวนลิขิต และอรัญญา มิ่งเมือง (2550) ปริมาณแอนโธไซยานินและปริมาณฟีนอลิกทั้งหมดของมังคุดและน้ำมังคุด วารสาร วิทยาศาสตร์ มศว เล่มที่ 23 (1) หน้า 68-78 (เอกสารหมายเลข 1)
อรุษา เชาวนลิขิต สุชาดา เจริญวงศ์ และฉฎาธร ชะเอม (2552) ผลกระทบของพาสเจอไรซ์และความเป็นกรดด่างต่อปริมาณแอนโธไซยานินและอายุการเก็บของน้ำอัญชัน วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 40(1)(พิเศษ) หน้า 433-436.
อรุษา เชาวนลิขิต อรัญญา มิ่งเมือง ธิดารัตน์ กิจบรรลือวิทย์ และน้ำปรุง ชลดำรงกุล (2553) ผลกระทบของกระบวนการแปรรูปต่อคุณภาพน้ำมังคุดแบบเข้มข้น วารสารมหาวิทยาลัยศรีนคิรนทรวิโรฒ 1(มกราคม-มิถุนายน 2553.
อรุษา เชาวนลิขิต ศิโรรัตน์ อภิชยารักษ์ สรารัตน์ คงทอง และสุชนา ชูประทุม (2552) ผลกระทบของ pH และ อุณหภูมิ ต่อสีและความคงตัวของสารสกัดจากกระเจี๊ยบและอัญชัน วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 40(3)(พิเศษ) หน้า 5-8.
Camire ME, Chaovanalikit A, Dougherty MP, Briggs J. 2003. Blueberry and grape anthocyanins as breakfast cereal colorants. J Food Sci. 67:438-411.
Chaovanalikit A, Dougherty MP, Camire ME, Briggs J. 2003. Ascorbic acid fortification reduces anthocyanins in extruded blueberry corn cereals. J Food Sci. 68:2136-2140.
Chaovanalikit A, Wrolstad RE. 2004. Anthocyanin and polyphenolic composition of fresh and processed cherries. J Food Sci. 69:FCT73-FCT83.
Chaovanalikit A, Wrolstad, RE. 2004. Total anthocyanins and total phenolics of fresh and rocessed cherries and their antioxidant properties. J. Food Sci. 69:FCT67-FCT72.
Thompson, MM, Chaovanalikit A. 2003. Prelimenary observation on adaptation and nutraceutical values of blue honeysuckle (Lonicera caerulea) in Oregon USA. Acta Hort(ISHS) 626:65-72.
Chaovanalikit, A, Wrolstad RE, Thompson, MM. 2004. Characterization and Quantification of anthocyanins and phenolics in Oregon blue honeysuckles (Lonicera caerulea). J Agric Food Chem. 52:848-852.
Jariyawat, S., Kigpituck, P., Suksen, K., Chuncharunee, A., Chaovanalikit, A., Piyachaturawat, P. 2009. Protection against cisplatin-induced nephrotoxicity in mice by Curcuma comosa Roxb. Ethanol extract. J Nat Med 63:430-436.
Chaivisuthangkura, A., Malaikaew, Y., Chaovanalikit, A., Jaratrungtawee, A., Panseeta, P., Ratananukul, P., Suksamrarn, S. 2009. Phenylated xanthone composition of Garcinia mangostana (mangosteen) fruit hull. Chromatographia., 69: 315-318.

Proceedings
อรุษา เชาวนลิขิต. 2548. สารสำคัญในมังคุด. เอกสารการประชุมวิชาการ เรื่อง บทบาทสารต้านออกซิเดชัน ในด้านสุขภาพและโรคต่าง ๆ. วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2548 ณ ห้องบรรยาย 2 คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอนแก่น.
อรุษา เชาวนลิขิต. 2547. การวิเคราะห์ส่วนประกอบของสารโพลีฟีนอลิกในเชิงคุณภาพของผลไม้เขตร้อนชื้นและของเหลือจากอุตสาหกรรม. บทคัดย่อและรายงานการสัมมนาวิชาการประสบการณ์ ความคิดเห็นและอนาคตในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติไทย. 11 สิงหาคม 2547 ณ ห้องประชุมนานาชาติ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,กรุงเทพฯ.
Chaovanalikit, A. 2004. Anthocyanins, total phenolics, and antioxidant capacity of bluehoneysuckles. In Abstracts and A CD articles of The 30th Congress on Science and Techonology of Thailand, October 19-21, 2004. Impact Exhibition and Convention Center, Muang Thang Thani, Bangkok, Thailand.
อรุษา เชาวนลิขิต , จารุวรรณ ธนพฤฒิวงศ์ และ จิราภรณ์ สอนดี. 2550. การพัฒนาเครื่องดื่มกระเจี๊ยบผงที่ไม่มีน้ำตาล. การประชุม “ศรีนครินทรวิโรฒวิชาการ” ครั้งที่ 2. วันที่ 31 มกราคม – 2 กุมภาพันธ์ 2551 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
อรุษา เชาวนลิขิต. 2548. สารสำคัญในมังคุด. การประชุมวิชาการ เรื่อง บทบาทสารต้านออกซิเดชัน ในด้านสุขภาพและโรคต่าง ๆ. วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2548 ณ ห้องบรรยาย 2 คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอนแก่น
อรุษา เชาวนลิขิต. 2547. การวิเคราะห์ส่วนประกอบของสารโพลีฟีนอลิกในเชิงคุณภาพของผลไม้เขตร้อนชื้นและของเหลือจากอุตสาหกรรม. การสัมมนาวิชาการประสบการณ์ ความคิดเห็นและอนาคตในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติไทย. 11 สิงหาคม 2547 ณ ห้องประชุมนานาชาติ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ
Chaovanalikit, A, Wrolstad, R.E. 2004. Anthocyanin pigment and total phenolic content of fresh and frozen cherries and their antioxidant properties. The 6th Agro-Industrial Conference, THAIFEX&HALFEX 2004, June 28-29, 2004. Impact Exhibition and Convention Center, Muang Thang Thani, Bangkok, ThailandBooks.
หน่วยวิจัยที่สังกัด
หน่วยวิจัยทางด้านวิทยาการเพื่อความเป็นอยู่ที่ดี (SCIENCE AND TECHNOLOGY FOR WELL-BEING)
หน่วยวิจัยทางด้านวิทยาการชีวภาพเพื่อความยั่งยืน (SCIENCE AND TECHNOLOGY FOR SUSTAINABILITY)

CONTACT

คณะเทคโนโลยีและนวัตกรรมผลิตภัณฑ์การเกษตร
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Faculty of Agricultural Product Innovation and Technology

63 หมู่ 7 ชั้น 5 อาคารอำนวยการ ตำบลองครักษ์ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก 26120

โทร 02 649 5000 ต่อ 27167

E-mail  aiswu@g.swu.ac.th

พิกัด GPS : 14.105399, 100.982440

LINK

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหารแห่งประเทศไทย (FoSTAT) สมาคมเทคโนโลยีชีวภาพแห่งประเทศไทย สมาคมโพลิเมอร์แห่งประเทศไทย

ส่วนส่งเสริมและบริการการศึกษา