ดร. พรรณทิพา เจริญไทยกิจ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ASST.PROF.Dr.PHANTIPHA CHAROENTHAIKIJ
สังกัด
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร
วุฒิ
ป.เอก : ปร.ด. (พัฒนาผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมเกษตร)
ป.โท : วท.ม. (พัฒนาผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมเกษตร)
ป.ตรี : วท.บ. (จุลชีววิทยา)
ความเชี่ยวชาญ
การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ ผลิตภัณฑ์โปรตีนจากพืช ผลิตภัณฑ์กลูเตนฟรีมุ่งเน้นวัตถุดิบจากแป้งข้าว การวิจัยผู้บริโภค การประเมินทางประสาทสัมผัส และกระบวนการคิดและการออกแบบธุรกิจ
ประสบการณ์ในการทำวิจัย
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวบรรจุถุงเพื่อสุขภาพ,2554
การพัฒนาขนมปังจากแป้งสาลีผสมแป้งข้าวเหนียว,2555
การเพิ่มมูลค่าข้าวในจังหวัดสระแก้ว,2555
การพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพจากกล้วยน้ำว้าสุกผง,2556
การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเช้าสำเร็จรูปชนิดแผ่นจากกล้วยน้ำว้าสุกผงและแป้งข้าวกล้อง,2555
การพัฒนาเห็ดผงปรุงรสปราศจากผงชูรส,2557
การผลิตไซรัปจากข้าวสายพันธุ์ที่มีสารต้านอนุมูลอิสระสูง,2557
ผลของการใช้ยีสต์สายพันธุ์ต่างๆ ที่แยกได้จากผลไม้ไทยต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพทางเคมีและประสาทสัมผัสระหว่างกระบวนการหมักไซเดอร์มะม่วง,2557
การพัฒนาขนมปังเสริมเส้นใยอาหารจากเศษเหลือจากสับปะรด,2557
การพัฒนาแพตตี้ปลาโดยใช้ใยอาหาร ร่วมกับเอนไซม์ทราน กลูตามิเนส,2557
การประยุกต์ใช้เอนไซม์ไซลาเนสและไลเปสในการปรับปรุงคุณภาพของขนมปังเสริมใยอาหาร,2558
การพัฒนาพาสต้าปราศจากกลูเตนหุงต้มสุกเร็วจากแป้งข้าวกล้องเสริมคุณค่าโปรตีน,2558
การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับปลานิลจังหวัดนครนายกในการผลิตขนมคบเคี้ยวเพื่อสุขภาพ,2558
การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารลดเกลือโซเดียม : เต้าหู้,2558
การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับปลานิลจังหวัดนครนายก: การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวชนิดอบเพื่อสุขภาพ,2559
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมไทยพลังงานต่ำแช่แข็งเพื่อเพิ่มศักยภาพในการส่งออก : การประยุกต์ใช้สารให้ความหวานทดแทนน้ำตาลที่มีดัชนีน้ำตาลต่ำร่วมกับการเสริมใยอาหารในผลิตภัณฑ์ขนมหม้อแกง,2560
การสร้างมูลค่าเพิ่มจากผลิตผลทางการเกษตรในจังหวัดนครนายก,2560
การพัฒนาผลิตภัณฑ์กะหรี่พัฟเพื่อสุขภาพรูปแบบใหม่ (ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์),2560
การพัฒนาผลิตภัณฑ์โปรตีนทางเลือกในรูปแบบผลิตภัณฑ์อาหารทะเล (ร่วมกับบริษัท ทีทีที โฮลดิ้ง).2563
การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเนื้อมะพร้าวอ่อน (ร่วมกับบริษัท เซ็ปเป้ จำกัด (มหาชน)),2563
ประสบการณ์ทำวิจัยภายนอก
- ทำงานวิจัยร่วมกับ ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในการสอนรายวิชานวัตกรรม
- ทำงานวิจัยร่วมกับ บริษัทพัทยา ฟู้ด อินดัสตรี จำกัด ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวเพื่อสุขภาพ
- ทำงานวิจัยร่วมกับสมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหารแห่งประเทศไทย (FOSTAT) ร่วมกับ สสส. ในโครงการ FOOD SAFETY FORUM: ลดเกลือโซเดียมในผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
- ทำงานร่วมสถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม ภายใต้โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์ ด้วยนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ จังหวัดสระบุรี ปีงบประมาณ 2560
- ทำงานร่วมกับชุมชนในจังหวัดนครนายก เช่น กลุ่มเกษตรกรแปรรูปน้ำนมข้าวโพด ต.บ้านพริก กลุ่มเกษตรกรแปรรูปกล้วย บ้านเนินใหม่ กลุ่มแปรรูปมะดัน ต.ท่าทราย และต.บางอ้อ ศูนย์การเรียนรู้ภูกะเหรี่ยง ตำบลศรีนาวา อำเภอเมือง จังหวัดนครนายก
- ทำงานร่วมกับสถาบันศิลปะและวัฒนธรรม มศว ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ภายใต้กิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ที่มีอัตลักษณ์ เพื่อเพิ่มมูลค่าในเชิงพาณิชย์ (ภาคกลางและภาคตะวันออก) โครงการพัฒนา OTOP สู้วิกฤต COVID-19 ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย์ โดยพัฒนาผลิตภัณฑ์ วาฟเฟิลกรอบจากมะพร้าว ร่วมกับผู้ประกอบการจังหวัดสมุทรสาคร (ได้รับรางวัลที่ 1 ประเภท ผลิตภัณฑ์อาหาร)
ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่
JOURNALS
1 พรรณทิพา เจริญไทยกิจ สุเมธ วิสุทธิวรรณ และอรวรรณ ธรรมานุธรรม. 2555. สมบัติทางเคมีกายภาพ และทางประสาทสัมผัสของข้าวหุงสุกจากข้าว 3 ชนิด (ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ข้าวกล้องหอมมะลิ 105 และข้าวขาวกข 31). ในเรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการศรีนครินทรวิโรฒวิชาการ ครั้งที่ 6 วันที่ 29 – 30 พฤษภาคม 2555. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
2 Charoenthaikij P, Jangchud K, Jangchud A, Piyachomkwan K, Tungtrakul P, and Prinyawiwatkul W. 2009. Germination Conditions Affect Physicochemical Properties of Germinated Brown Rice Flour. Journal of Food Science. Vol. 74 (9) C658-C665.
3 Charoenthaikij P, Jangchud K, Jangchud A, Prinyawiwatkul W, No HK, and King JM. 2010. Physicochemical Properties and Consumer Acceptance of Wheat-Germinated Brown Rice Bread during Storage time. Journal of Food Science. Vol. 75 (6): S333-S339.
4 Charoenthaikij P, Jangchud K, Jangchud A, Prinyawiwatkul W, and Tungtrakul P. 2010. Germination Conditions Affect Selected Quality of Composite Wheat-Germinated Brown Rice Flour and Bread Formulations. Journal of Food Science. Vol. 75 (6): S312-S318.
5 Charoenthaikij P, Jangchud K, Jangchud A, Prinyawiwatkul W, and Tungtrakul P. and No HK. 2012. Composite Wheat–Germinated Brown Rice Flours: Selected Physicochemical Properties and Bread Application. International Journal of Food Science and Technology. 47(1): 75-82.
6 Charoenthaikij P, Laungprasan P, Sungkhamongkolkit A, Uan-on T, No HK & Prinyawiwatkul W. 2014. Quality of Composite Wheat-Wet Milled Glutinous Rice Flour Bread and Effects of Chitosan on Its Quality during Storage. Journal of Chitin Chitosan 19(2), 107-114.
7 Torrico DD, Carabante KM, Pujols KD, Chareonthaikij P and Prinyawiwatkul W. 2015. Oil and tastant concentrations affect saltiness and bitterness perception of oil-in-water emulsions. International Journal of Food Science and Technology. 50: 2562–2571.
8 Charoenthaikij P, Uanon, T, and Prinyawiwatkul W. 2016. Effects of pineapple pomace fibre on physicochemical properties of composite flour and dough, and consumer acceptance of fibre-enriched wheat bread. International Journal of Food Science and Technology. 51: 1120–1129.
9 Charoenthaikij, P., Srilarp, J., Winnavoravej, N., Uan-on, T. Torrico, D., Phitchayaphon, C. 2018. Effects of transglutaminase and kappa-carrageenan on the physical and sensory qualities of fish (Pangasiamonodon hypophthalmus) patties. Current Applied Science and Technology Journal (CAST), 18 (1): 12-23.
10 Charoenthaikij, P., Prommin, A., Suratananun, A., Itthisophonkul, T., Naknaen, P. (2017). Physicochemical Properties and Sensory Quality of Gluten-free Brown Rice Pasta Enriched with Egg White Protein. Journal of KMUTNB, 28(3): 627 – 638.
11 Sreeitthiyawet, W., Oupathumpanont, O., Charoenthaikij, P. 2019. Selection of suitable formula for manufacturing meat analogue supplemented with white kidney bean flour and Jerusalem artichoke flour. Malaysian Applied Biology. 48(4): 83–88.
หน่วยวิจัยที่สังกัด
หน่วยวิจัยทางด้านวิทยาการเพื่อความเป็นอยู่ที่ดี (SCIENCE AND TECHNOLOGY FOR WELL-BEING)
ข้อมูลด้านอื่นๆ
บทความวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติและนานาชาติ
ปรมาภรณ์ เกิดทรัพย์ พรรณทิพา เจริญไทยกิจ ธีรารัตน์ อิทธิโสภณกุล น้ำฝน รักขุมแก้ว พิสุทธิ หนักแน่น. ผลของการบรรจุแบบสุญญากาศต่อคุณภาพทางเคมี จุลชีววิทยา และประสาทสัมผัสของปลาส้มนครนายก. วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) 2561; ปีที่ 10 ฉบับที่ 19 มกราคม - มิถุนายน 2561.
Charoenthaikij, P., Prommin, A., Suratananun, A., Itthisophonkul, T., Naknaen, P. Physicochemical Properties and Sensory Quality of Gluten-free Brown Rice Pasta Enriched with Egg White Protein. J KMUTNB 2017; 28(3): 627 – 38.
Charoenthaikij, P., Srilarp, J., Winnavoravej, N., Uan-on, T. Torrico, D., Phitchayaphon, C. Effects of transglutaminase and kappa-carrageenan on the physical and sensory qualities of fish (Pangasiamonodon hypophthalmus) patties. Current App Sci and Tech J (CAST) 2018; 18 (1): 12-23.
Sreeitthiyawet, W., Oupathumpanont, O., Charoenthaikij, P. Selection of suitable formula for manufacturing meat analogue supplemented with white kidney bean flour and Jerusalem artichoke flour. Malaysian App Bio 2019; 48(4): 83–8.
Charoenthaikij, P. Chaovanalikit, Uan-On, T. Waimaleongora-ek. Quality of different rice cultivars and factors influencing consumer willingness-to-purchase rice. Inter J Food Sci and Tech 2020; 56(5): 2452-2461.

CONTACT

คณะเทคโนโลยีและนวัตกรรมผลิตภัณฑ์การเกษตร
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Faculty of Agricultural Product Innovation and Technology

63 หมู่ 7 ชั้น 5 อาคารนวัตกรรมแห่งความยั่งยืน (ISB) ตำบลองครักษ์ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก 26120

โทร 02 649 5000 ต่อ 27167

E-mail  aiswu@g.swu.ac.th

พิกัด GPS : 14.105399, 100.982440

LINK

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหารแห่งประเทศไทย (FoSTAT) สมาคมเทคโนโลยีชีวภาพแห่งประเทศไทย สมาคมโพลิเมอร์แห่งประเทศไทย

ส่วนส่งเสริมและบริการการศึกษา